สภาพทางนิเวศวิทยา :
|
นิเวศวิทยา ป่าเบญจพรรณทั่วทุกภาคของไทย
ถิ่นกำเนิด เขตร้อนแถบมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินเดียและไทย
การกระจายพันธุ์
การใช้งานด้านภูมิทัศน์
|
การปลูกและการขยายพันธุ์ :
|
ทนทานสภาพแห้งแล้วได้ดี ขึ้นได้ในดินเกือบทุกชนิด
|
รายละเอียดการใช้ประโยชน์ :
|
- เปลือกต้น มีรสเปรี้ยวเย็นฝาด รักษาโรคผิวหนัง แก้ท้องเสีย
- เปลือกลูก มีรสเปรี้ยวเย็นฝาด เป็นยาสมาน
- ใบ มีรสเปรี้ยวเย็นฝาด ใช้ต้มอาบแก้ไข้ ใช้ขับเหงื่อ [1]
- ราก มีรสเปรี้ยวเย็นฝาด แก้ท้องร่วง แก้บิด มูกเลือด ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ แก้ไข้รากสาด [1], [2]
- ปรับปรุงเป็นไม้ผลหลายพันธุ์ เนื่องจากเนื้อมีรสหวาน ผลใหญ่รับประทาสดหรือยังนำมาทำอาหารคาวหวาน [2]
- เป็นผลไม้ที่ให้คาร์โบไฮเดรต โพแทสเซียม วิตามินซี และใยอาหารสูง แต่ผู้เป็นโรคไตไม่ควรกินมาก
- รากนำมาตำใส่น้ำและน้ำส้มสายชูดื่ม ช่วยดับพิษร้อนถอนพิษไข้ แก้บิด ช่วยขับลม
- เปลือกต้นนำมาต้มน้ำอาบ ช่วยรักษาโรคผิวหนัง หรือดื่มแก้พิษงู แก้ท้องเสีย ใบแก้ไข้
- ผลแก้บวมและขับพยาธิ [3]
- เนื้อไม้แข็งและมีคุณภาพดี จึงใช้สร้างบ้านหรือทำเฟอร์นิเจอร์ต่างๆ ได้ [2], [3]
|
แหล่งอ้างอิง :
|
[1] คณะกรรมการวิชาการดำเนินงานส่วนสวนสมุนไพรพืชสวนโลก. 2549. สวนสมุนไพรในงานมหกรรมพืชสวนโลก 2549. Herbal Garden in Royal Flora Expo 2006. บริษัท สามเจริญพาณิชย์(กรุงเทพฯ) จำกัด. กรุงเทพมหานคร.
[2] มูลนิธิสวนหลวง ร. ๙. 2547. ไม้นามตามถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 1. อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด. กรุงเทพมหานคร.
[3] อุไร จิรมงคลการ. 2547. ผลไม้ในสวน. Fruits. พิมพ์ครั้งแรก. สำนักพิมพ์บ้านและสวน. กรุงเทพมหานคร.
|
ประเภทของการใช้ประโยชน์ :
|
พืชล่อแมลง |
ไม้ผล |
ไม้ยืนต้น |
พืชสมุนไพร |
|
ที่อยู่ :
|
|
หมายเหตุ :
|
|
รูปพรรณไม้ :
|
|
|
|